งานวิจัยและการบริการวิชาการ-วิชาชีพสู่สังคม ถือเป็นหนึ่งพันธกิจหลักที่มหาวิทยาลัยมีหน้าที่ต่อสังคม ในฐานะแหล่งความรู้และสร้างบุคลากรในสาขาวิชาชีพต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์ที่ภาคปฏิบัติมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาวิชาการและวิชาชีพ อีกทั้งการประกอบวิชาชีพและองค์ความรู้ทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ยังเกี่ยวข้องกับศาสตร์แขนงอื่นๆ ในฐานะที่เป็น “ศาสตร์แห่งการจัดการพื้นที่” ตั้งแต่ระดับเมืองขนาดใหญ่ อาคาร จนถึงการจัดการพื้นที่ภายในอาคาร เพื่อให้โลกวิชาการและการปฏิบัติวิชาชีพได้เชื่อมโยงสัมพันธ์กันมากยิ่งขึ้น ศูนย์วิจัยบูรณาการภาพพื้นที่และสังคม (CISR) จึงมีหน้าที่สนับสนุนกิจกรรมทางวิชาการและงานวิจัยของคณะฯ
วัตถุประสงค์
- เพื่อบริการวิชาการและวิชาชีพด้านการสร้างสรรค์และแก้ปัญหาสภาวะแวดล้อม (Built-Environment) ที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การจัดการพื้นที่ระดับเมือง,ระดับกลุ่มอาคาร, ระดับอาคาร, และภายในอาคาร ในมิติความสัมพันธ์ของพื้นที่กายภาพ มนุษย์ และสังคม
- เพื่อให้คณาจารย์และนักศึกษาได้มีพื้นที่และโอกาสในการเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์ทางการวิจัยและการปฏิบัติวิชาชีพ ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
- เพื่อยกระดับสู่การสร้างระบบและการจัดการองค์ความรู้ของศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสภาวะแวดล้อมรังสรรค์ของคณะฯ ทั้งในด้านการผลิตเอกสารทางวิชาการของบุคลากรในคณะ และเวทีสัมนาวิชาการ-วิชาชีพ
- เพื่อสร้างเครือข่ายวิชาการ-วิชาชีพ กับองค์กรต่างๆ ภายนอกในฐานะสถาบัน
แนวคิดการดำเนินงาน
- เน้นการสร้างองค์ความรู้ผ่านการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) อย่างบูรณาการข้ามศาสตร์ (Interdisciplinary)
- หน่วยปฏิบัติการวิจัย / กลุ่มศึกษา (Unit of Excellence)
- Housing Study Unit (HU)
- Conservation Unit (CU)
- Participatory Planning Unit (PU)
- นำความรู้กลับสู่ชั้นเรียน
- กรณีศึกษา บทเรียน แบบฝึกหัด
- การฝึกงาน
- สหกิจศึกษา
ดร.ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ และผู้อำนวยการศูนย์วิจัยบูรณาการภาพพื้นที่และสังคม
วุฒิการศึกษา
Dr.rer.pol. (Planning) มหาวิทยาลัยแห่งเมืองคาสเซิล, เยอรมนีM.Sc. (Urban Environmental Management) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
สถ.บ. (สถาปัตยกรรมศาสตร์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ความเชี่ยวชาญ
- ปฏิบัติการวางแผนและกรณีศึกษาเพื่อการพัฒนา- การวางผังที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อย
- การจัดการสิ่งแวดล้อมโดยชุมชน
นูรียา รัตนะเถกิงพร
นักวิจัย และผู้ประสานงานโครงการประจำศูนย์ CISR
วุฒิการศึกษา
สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุมมนต์ทวี จิระวัฒน์ทวี
นักวิจัยอวุโส ,ผู้เชี่ยวชาญ URBAN DEVELOPMENT
วุฒิการศึกษา
ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังปริญญาโท สถาปัตยกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาอนุรักษ์สถาปัตยกรรมคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผลงาน
- Date
- May 22, 2017
โครงการการจัดทำแผนการพัฒนาที่อยู่อาศัยในชุมชนเทพลีลา [Best_Wordpress_Gallery id=”19″ gal_title=”โครงการการจัดทำแผนการพัฒนาที่อยู่อาศัยในชุมชนเทพลีลา”]- Date
- May 22, 2017
“โครงการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการออกแบบชุมชน (COMMUNITY PARTCIPATION DESIGN) เป็นส่วนในโครงการพัฒนาพื้นที่บึงบางซื่อ” [Best_Wordpress_Gallery id=”19″ gal_title=”ผลงาน CISR โครงการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการออกแบบชุมชน”]- Date
- April 5, 2017
กิจกรรม วันไหว้พระจันทร์ โครงการศึกษาแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมในการฟื้นฟู และพัฒนาที่บริเวณสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน วัดมังกรกมลาวาส และพื้นที่ย่านเยาวราช ระยะที่ 3